Crosswalk Metadata+Open Technology+Digital
Z39.50 เป็นมาตรฐาน ANSI/NISO เรียกว่า ANSI Z39.50 ในงานด้าน IR นั้น Z39.50 เป็น protocol ที่ใช้สำหรับ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ เพราะมันเป็นตัวอนุญาตให้ผู้ใช้ทั่วไปสามารถเข้าถึง และสืบค้นสารสนเทศ (Information) ทาง Network ได้ แต่ไม่สามารถสืบค้นข้อมูลได้ ซึ่งข้อแตกต่างคือข้อมูลจะเป็นข้อเท็จจริง ส่วนสารสนเทศ คือ ความรู้ที่ เป็นประโยชน์ Z39.50 เป็น softwareประเภท Application ที่ใช้ รูปแบบ Client/Server ถูกสร้างและพัฒนาโดย information providers, database providers, library automation vendors, hardware manufacturers, higher education and research institutions และเมื่อกล่าวถึง Z39.50 แล้วเราจะเปรียบ client เป็น origin ส่วน server เป็น target ซึ่งทั้ง origin และ target สามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยนสารสนเทศกันได้ โดยผ่าน Z39.50 โดยในการสร้างมันขึ้น มาจะใช้ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นตัวช่วยด้วยลักษณะของ Z39.50 ที่เป็น protocol นี้เอง ผู้ใช้จึงสามารถทำการค้นหาสารสนเทศทาง Network ได้ แม้ว่าจะไม่เคยรู้เรื่องการติดต่อด้าน Network ูแหล่งของสารสนเทศ และแม้แต่วิธีการค้นหาสารสนเทศก็ตามลักษณะของการค้นหาสารสนเทศโดยปราศจาก การติดต่อ ทาง Network และวิธีการค้นหาที่ซับซ้อน เรียกว่า interconnectivity และinteroperability ซึ่งมันทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็น ต้องรู้เรื่องเกี่ยวกับการค้นหามากนัก และยังทำให้ผู้ใช้รู้สึกว่าการค้นหานี้งานไม่ยุ่งยากเลย ภายใน Z39.50 จะประกอบด้วย package ของ software ประเภท application อยู่ 2 แห่งคือที่ Client และที่ Server
แลกเปลี่ยนรายการบรรณานุกรมระหว่าง ILS
InnoPAC – InnoPSC – Horizon – VTLS
ความเป็นจริงในห้องเรียน โอกาสทำงานกับ ILS ยากจึงมีการพัฒนาซอฟแวร์จำลองการทำงานอย่าง Mercury z39.50 Clients เอาแค่ ISBN ของหนังสือเล่มนั้นไปใส่ จากนั้นมันจะไปทำการค้นหาบรรณานุกรมมาให้เราสมมติเรามองภาพว่า Mercury z39.50 clients คือ Catalogue Module ของระบบ InnoPAC ในห้องสมุด มช. ดังนั้นหากต้องการลงรายการบรรณานุกรมหนังสือในฐานข้อมูล เพียงแค่เราใส่เลข ISBN เข้าไปใน Mercury z39.50 จากนั้นระบบจะไปค้นหารายการบรรณานุกรมของหนังสือเล่มนั้นจากห้องสมุดทั่วโลก
ประเด็นน่าสนใจของ z39.50
1. ระบบห้องสมุดที่จัดหา/จัดซื้อ พัฒนา ไม่มีโมดูล z39.50
2. ระบบห้องสมุดที่ใช้อยู่มีโมดูล z39.50 แต่ห้องสมุดไม่ทราบทั้งการเปิดใช้งาน การใช้งาน
3. ห้องสมุด/บรรณารักษ์ไม่รู้จัก z39.50 มาก่อน
4. หนังสือส่วนมากของห้องสมุดเป็นภาษาไทย ซึ่งระบบห้องสมุดที่เปิดโมดูล z39.50 ของประเทศไทยมีน้อย หรือไม่เปิดระบบให้บริการ พยายามเลือกซื้อระบบที่เป็นระบบมาตรฐาน เช่นของ ม..วลัยลักษณ์
Z39.88, OAI – PMH, Embeded Metadata กับแลกเปลี่ยนรายการบรรณานุกรมจากห้องสมุด/ทรัพยากรสู่ Application
การพัฒนาเว็บแยกเป็น 2 กรณี
1. ทำมือ ...สร้างหน้า .php, .html, .htm
2. พัฒนาด้วย S/W เช่น CMS – Joomla, Drupal
ตัวอย่างทำหน้าเว็บแนะนำภาควิชา 1 หน้า จะได้ไฟล์ about.html
พิมพ์เนื้อหาแนะนำภาค 4 พารากราฟ มีรูปภาพ.jpg ประกอบ 3 ภาพ มีลิงค์ให้ดาวน์โหลดไฟล์แนะนำภาค 2 ไฟล์ คือ
.ppt
.pdf
เว็บที่ทำต้องให้ google search engine เก็บข้อมูลได้ ไฟล์ประกอบการทำเว็บมีไฟล์ดังนี้
1 html
3 jpg
1ppt
1 pdf
ทุกไฟล์ต้องฝัง Metadata ที่จำเป็น
1 html ฝัง Web Meta Tag
<meta name = “keywords” content = “คำค้น” />
<meta name = “authors” content = “หน่วยงาน / ผู้สร้างสรรค์” />
<meta name = “description” content = “คำอธิบาย” />
3 jpg ฝัง IPTC
1 ppt ฝัง Document Metadata
1 pdf ฝัง PDF Metadata
การลงรายการสื่อดิจิทัล
แล้วแต่ละชุด metadata จะลงรายการอย่างไร (มาตรฐานการลงรายการ)
ขยายทุกไฟล์ โดยเฉพาะ .html ให้รองรับมาตรฐาน z39.5 ผ่าน z39.88 เช่น
<meta name = “keywords” content = “คำค้น” />
<meta name = “authors” content = “หน่วยงาน / ผู้สร้างสรรค์” />
<meta name = “description” content = “คำอธิบาย” />
Web Meta Tag ให้ข้อมูลกับ search Engine
Web Meta Tag ให้ข้อมูลกับ search Engine
<meta name = “DC. title” content = “ชื่อเรื่อง” />
<meta name = “DC. authors” content = “หน่วยงาน / ผู้สร้างสรรค์” />
<meta name = “DC. description” content = “คำอธิบาย” />
<meta name = “DC. keywords” content = “คำค้น” />
<meta name = “DC. CreateDate” content = “วันที่สร้างผลงาน” />
DC Meta Tag ให้ข้อมูลบรรณานุกรมกับ Apps เช่น Reference Manager (Endnotes, Zotero, JabRef, Refwork...)ผ่านมาตรฐาน z39.88
<meta name = “citation_title” content = “” />
<meta name = “citation_authors” content = “” />
<meta name = “citation_description” content = “” />
<meta name = “citation_keywords” content = “” />
<meta name = “citation_createDate” content = “” />
<meta name = “citation_PublishDate” content = “” />
<meta name = “citation_pdf_url” content = “” />
<meta name = “citation_jourjal_title” content = “” />
<meta name = “citation_volume” content = “” />
<meta name = “citation_issue” content = “” />
Citation Meta Tag เป็นข้อมูลชุดใหม่เพื่อให้ข้อมูลบรรณานุกรมเชิงผลงานวิชาการกับ Google Scholar
<meta name = “citation_firstpage” content = “” />
<meta name = “citation_lastpage” content = “” />
การเกิดของ Citation Meta Tag เพราะปัญหาจาก OAI – PMH ที่ทำได้ยาก
Webometric Ranking
Webometrics Ranking of World Universities หรือ "Ranking Web of World Universities" จัดทำโดย Cybermetrics Lab หรือ Internet Lab ซึ่งเป็นกลุ่มวิจัยในสังกัด The Centre for Scientific Information Webometrics Ranking of World Universities หรือ "Ranking Web of World Universities" จัดทำโดย and Documentation (CINDOC) สภาวิจัยแห่งชาติ (Spanish National Research Council - CSIC) ณ กรุงแมดดริด ประเทศสเปน เริ่มดำเนินการตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2004 มีเว็บไซต์อยู่ที่ http://www.webometrics.info นักวิจัยที่มีบทบาทสำคัญคือ Isidro F. Aguillo
การจัดลำดับโดย Webometrics เกิดจากความเชื่อที่ว่า Web จะเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก และในที่สุด Open Acess Initiatives ซึ่งเป็น web publications หรือ electronic publications และในที่สุด Open Acess Initiatives ซึ่งเป็น web publications หรือ electronic publications จะมีผลกระทบและมีการเข้าถึงได้มากกว่าสิ่งตีพิมพ์ (Publications) ชนิดใดๆ ดังนั้น Webometrics จึงเป็นการวัดปริมาณเนื้อหาที่สร้างขึ้น เน้นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ผ่านทางเว็บไซต์ การปรากฎตัวบนอินเตอร์เน็ต และดูจำนวน Link จากเว็บไซต์ภายนอกทั่วโลกที่ทำ Link มายังเว็บเพจ หรือวัดผลกระทบการอ้างอิง ตามจำนวนของ link ที่ได้รับจากภายนอก (external inlinks / sitations หรือ site citations) ซึ่งจะแสดงถึง visibility และ impact ของ web publications นั้นๆ จากกนั้นทำการจัดลำดับ โดยใช้ดัชนี Web Impact Factor (WIF) ซึ่งใช้หลักการที่ดัดแปลงและประยุกต์มาจาก Journal Impact Factor (JIF) ของฐานข้อมูล Thomson's ISI Journal Citation Reports (JCR) การประกาศผลจัดอันดับจะทำทุกเดือนมกราคม และกรกฎาคมของทุกปี มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 โดยไม่ได้มีวัตถุประสงค์ที่จะจัดอันดับคุณภาพของสถาบันการศึกษาแต่อย่างใด แต่เป็นเพียงดัชนีชี้วัดความสามารถในการผลิต web publications และความเป็น open access ของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ซึ่งเป็นการวัดผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต นอกเหนือจากการวัดด้วยดัชนีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยและการอ้างอิงผลงานวิจัย แบบที่เรารู้จักกันดี ที่เรียกว่า bibliometric indicators เท่านั้น หรือมองอีกแง่หนึ่งก็คือ วัดความสามารถในการเป็น "มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ (E-university)" นั่นเอง
วัตถุประสงค์ในการจัดทำ Ranking นี้ มีกลุ่มเป้าหมายสำคัญอยู่ที่บรรดาผู้บริหารของมหาวิทยาลัย ในกรณีที่ web performance ของสถาบันการศึกษาใด ได้ลำดับที่ต่ำกว่าความคาดหมาย เมื่อเปรียบเทียบกับความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันนั้นๆ ผู้จัดทำ Webometrics Ranking เสนอแนะให้ผู้บริหารของสถาบัน ทบทวนนโยบายด้านการจัดทำเว็บไซต์ของตน และสนับสนุนนโยบายด้านต่างๆ เพื่อเพิ่มจำนวนผลผลิตของสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่ทางวิชาการ ในรูปแบบ electronic publications ให้มากยิ่งขึ้น กลุ่มเป้าหมายสำคัญรองลงมาคือ บรรดาอาจารย์ นักวิจัย ของมหาวิทยาลัย เนื่องจากคาดว่าในอนาคตผลงานทางวิชาการในลักษณะ web publications นี้ อาจมีส่วนในการประเมินผลงาน นอกเหนือจากการวัดด้วย scientometric หรือ bibliometric indicators แบบเดิม และนอกจากนั้นบรรดานักเรียน นักศึกษา อาจใช้ประกอบการพิจารณาเลือกเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยพิจารณาจากการที่มหาวิทยาลัยมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ และจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ไว้อย่างเพียงพอ
ปัจจุบัน Webometrics Ranking ได้ทำการตรวจสอบมหาวิทยาลัย (โดยดูจากชื่อ domain) จำนวน 13,074 แห่ง จากทั่วโลก เพื่อทำการจัดอันดับให้แก่มหาวิทยาลัย จำนวนทั้งสิ้น 6,000 อันดับ ทั้งนี้มี มหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศไทย รวมอยู่ด้วย จำนวน 78 แห่ง รายชื่อเว็บไซต์มหาวิทยาลัยทั่วโลก เป็นข้อมูลที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น
- Universities Worldwide (รวมรายชื่อมหาวิทยาลัย มากกว่า 8,343 แห่งจาก 201ประเทศ)
- All Universities around the World
- BrainTrack - College & University Directory
การจัดลำดับโดย Webometrics เกิดจากความเชื่อที่ว่า Web จะเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก และในที่สุด Open Acess Initiatives ซึ่งเป็น web publications หรือ electronic publications และในที่สุด Open Acess Initiatives ซึ่งเป็น web publications หรือ electronic publications จะมีผลกระทบและมีการเข้าถึงได้มากกว่าสิ่งตีพิมพ์ (Publications) ชนิดใดๆ ดังนั้น Webometrics จึงเป็นการวัดปริมาณเนื้อหาที่สร้างขึ้น เน้นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ผ่านทางเว็บไซต์ การปรากฎตัวบนอินเตอร์เน็ต และดูจำนวน Link จากเว็บไซต์ภายนอกทั่วโลกที่ทำ Link มายังเว็บเพจ หรือวัดผลกระทบการอ้างอิง ตามจำนวนของ link ที่ได้รับจากภายนอก (external inlinks / sitations หรือ site citations) ซึ่งจะแสดงถึง visibility และ impact ของ web publications นั้นๆ จากกนั้นทำการจัดลำดับ โดยใช้ดัชนี Web Impact Factor (WIF) ซึ่งใช้หลักการที่ดัดแปลงและประยุกต์มาจาก Journal Impact Factor (JIF) ของฐานข้อมูล Thomson's ISI Journal Citation Reports (JCR) การประกาศผลจัดอันดับจะทำทุกเดือนมกราคม และกรกฎาคมของทุกปี มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 โดยไม่ได้มีวัตถุประสงค์ที่จะจัดอันดับคุณภาพของสถาบันการศึกษาแต่อย่างใด แต่เป็นเพียงดัชนีชี้วัดความสามารถในการผลิต web publications และความเป็น open access ของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ซึ่งเป็นการวัดผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต นอกเหนือจากการวัดด้วยดัชนีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยและการอ้างอิงผลงานวิจัย แบบที่เรารู้จักกันดี ที่เรียกว่า bibliometric indicators เท่านั้น หรือมองอีกแง่หนึ่งก็คือ วัดความสามารถในการเป็น "มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ (E-university)" นั่นเอง
วัตถุประสงค์ในการจัดทำ Ranking นี้ มีกลุ่มเป้าหมายสำคัญอยู่ที่บรรดาผู้บริหารของมหาวิทยาลัย ในกรณีที่ web performance ของสถาบันการศึกษาใด ได้ลำดับที่ต่ำกว่าความคาดหมาย เมื่อเปรียบเทียบกับความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันนั้นๆ ผู้จัดทำ Webometrics Ranking เสนอแนะให้ผู้บริหารของสถาบัน ทบทวนนโยบายด้านการจัดทำเว็บไซต์ของตน และสนับสนุนนโยบายด้านต่างๆ เพื่อเพิ่มจำนวนผลผลิตของสิ่งตีพิมพ์เผยแพร่ทางวิชาการ ในรูปแบบ electronic publications ให้มากยิ่งขึ้น กลุ่มเป้าหมายสำคัญรองลงมาคือ บรรดาอาจารย์ นักวิจัย ของมหาวิทยาลัย เนื่องจากคาดว่าในอนาคตผลงานทางวิชาการในลักษณะ web publications นี้ อาจมีส่วนในการประเมินผลงาน นอกเหนือจากการวัดด้วย scientometric หรือ bibliometric indicators แบบเดิม และนอกจากนั้นบรรดานักเรียน นักศึกษา อาจใช้ประกอบการพิจารณาเลือกเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยพิจารณาจากการที่มหาวิทยาลัยมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ และจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ไว้อย่างเพียงพอ
ปัจจุบัน Webometrics Ranking ได้ทำการตรวจสอบมหาวิทยาลัย (โดยดูจากชื่อ domain) จำนวน 13,074 แห่ง จากทั่วโลก เพื่อทำการจัดอันดับให้แก่มหาวิทยาลัย จำนวนทั้งสิ้น 6,000 อันดับ ทั้งนี้มี มหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศไทย รวมอยู่ด้วย จำนวน 78 แห่ง รายชื่อเว็บไซต์มหาวิทยาลัยทั่วโลก เป็นข้อมูลที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น
- Universities Worldwide (รวมรายชื่อมหาวิทยาลัย มากกว่า 8,343 แห่งจาก 201ประเทศ)
- All Universities around the World
- BrainTrack - College & University Directory
ที่มา : http://stang.sc.mahidol.ac.th/webometrics.htm
การเพิ่ม Webometric Ranking
- Size (S) หมายถึง จำนวนเว็บเพจ จากเว็บไซต์ทั้งหมดที่อยู่ภายใต้ domain เดียวกัน (เช่น .rmutp.ac.th) ที่สืบค้นได้โดย Search Engines (น้ำหนักร้อยละ 20)
- Visibility (V) หมายถึง จำนวน external links ที่ได้รับ (inlinks) มีการเชื่อมโยงหรืออ้างอิงมาจากภายนอก สืบค้นโดยใช้ search engines เช่น Yahoo และใช้ syntax ในการค้น เช่น site:rmutp.ac.th, link:rmutp.ac.th, domain:rmutp.ac.th (น้ำหนักร้อยละ 50)
- Rich Files (R) หมายถึง จำนวนแฟ้มข้อมูล หรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ทั้งหมดที่อยู่ภายใน domain เดียวกัน ในรูปของ Acrobat (pdf), PostScript (ps), MS Word (doc), MS Powerpoint (ppt), MS Excel (xls) (น้ำหนักร้อยละ 15)
- Scholar (Sc) หมายถึง จำนวนบทความวิชาการ และการอ้างอิงบทความทางวิชาการ ที่ปรากฎภายใน domain ของมหาวิทยาลัย และสามารถสืบค้นได้ด้วย google scholar (น้ำหนักร้อยละ 15)
ที่มา : http://kmblog.rmutp.ac.th/nivat.j/category
ซอฟแวร์พัฒนา IR เป็นฐานข้อมูลหนึ่งที่ใช้เก็บข้อมูลวิชาการ
ePrints
ePrint เป็นบริการที่เพิ่งให้บริการมาไม่นาน ตอนนี้มันยังแทบไม่มีความสามารถอะไร เช่นไม่สามารถควบคุมหน้าที่เราจะพิมพ์, กำหนดจำนวนชุดสำเนา, หรือการบังคับให้พิมพ์ขาวดำในเอกสารสี เรื่องนี้ทาง HP สัญญาว่าจะมีการเพิ่มความสามารถในอนาคต แต่ต้องทำใจว่ามันจะไม่เท่ากับไดร์เวอร์เครื่องพิมพ์บนพีซีแน่ๆ
ข้อเสียหลักๆ ของ ePrint คือ การทำงานช้าเพราะต้องอัพโหลดงานขึ้นเว็บแล้วค่อยส่งกลับลงพรินเตอร์, งานทั้งหมดที่จะผ่านเซิร์ฟเวอร์ของ HP, และเราจะไม่รู้ว่างานที่เราสั่งไปพิมพ์สำเร็จจริงๆ หรือไม่ โดยเรื่องความช้านั้นคงแก้อะไรไม่ได้ ผมลองใช้งานดูพบว่ากว่าเครื่องพิมพ์จะเริ่มพิมพ์ก็ใช้เวลา 10-20 วินาทีต่องาน แต่คงต้องลองว่าอินเทอร์เน็ตในไทยจะต่อกับเซิร์ฟเวอร์ของ HP ได้เร็วแค่ไหน ส่วนเรื่องของงานนั้น HP จะเก็บงานของเราไว้บนเซิร์ฟเวอร์เป็นเวลา 24 ชั่วโมงจึงลบออกและเรื่องของการดูผลการพิมพ์นั้นก็ยังต้องรอคลาวน์ของ HP อัพเกรดกันต่อไปอีกครั้ง
ข้อเสียหลักๆ ของ ePrint คือ การทำงานช้าเพราะต้องอัพโหลดงานขึ้นเว็บแล้วค่อยส่งกลับลงพรินเตอร์, งานทั้งหมดที่จะผ่านเซิร์ฟเวอร์ของ HP, และเราจะไม่รู้ว่างานที่เราสั่งไปพิมพ์สำเร็จจริงๆ หรือไม่ โดยเรื่องความช้านั้นคงแก้อะไรไม่ได้ ผมลองใช้งานดูพบว่ากว่าเครื่องพิมพ์จะเริ่มพิมพ์ก็ใช้เวลา 10-20 วินาทีต่องาน แต่คงต้องลองว่าอินเทอร์เน็ตในไทยจะต่อกับเซิร์ฟเวอร์ของ HP ได้เร็วแค่ไหน ส่วนเรื่องของงานนั้น HP จะเก็บงานของเราไว้บนเซิร์ฟเวอร์เป็นเวลา 24 ชั่วโมงจึงลบออกและเรื่องของการดูผลการพิมพ์นั้นก็ยังต้องรอคลาวน์ของ HP อัพเกรดกันต่อไปอีกครั้ง
DSpace
โปรแกรม DSpace เป็นโอเพนซอร์สอีกโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการจัดการคลังเก็บเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ คล้ายกับโปรแกรมอีพรินท์ (EPrints) แต่มีความยืดหยุ่นมากกว่า สามารถใช้เก็บเอกสาร และเผยแพร่สารสนเทศดิจิทัลขององค์กร รวมทั้งการเก็บสงวนรักษาเอกสารในระยะยาว
ดีสเปซ พัฒนาโดยห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์ และบริษัทฮิวเลตต์-แพคการ์ด มีวัตถุประสงค์ในการเก็บถาวร จึงสามารถรองรับแฟ้มข้อมูลที่มีความหลากหลาย เช่น บทความ ชุดข้อมูล (data sets) รูปภาพ แฟ้มข้อมูลเสียง (audio files) แฟ้มข้อมูลวิดีทัศน์ (video files) แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ (computer files) และทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ ของห้องสมุด ดีสเปซเป็นโปรแกรมตัวแรกในการเก็บถาวรเว็บไซต์ โดยทำหน้าที่เก็บตัวของมันเอง (storage self-contained) เอกสารเอชทีเอ็มแอลที่เป็นประเภทคงที่ และดีสเปซยังเป็นสมาชิกในโครงการริเริ่มเก็บถาวรแบบเปิด (OAI-Open Archives Initiative) อีกด้วย และในปี ค.ศ. 2004 ดีสเปซได้ร่วมมือกับกูเกิล (Google) เพื่อให้ผู้ใช้กูเกิลสามารถสืบค้นข้ามมาที่คลังเก็บเอกสารของดีสเปซได้
โปรแกรม DSpace เป็นโอเพนซอร์สอีกโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการจัดการคลังเก็บเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ คล้ายกับโปรแกรมอีพรินท์ (EPrints) แต่มีความยืดหยุ่นมากกว่า สามารถใช้เก็บเอกสาร และเผยแพร่สารสนเทศดิจิทัลขององค์กร รวมทั้งการเก็บสงวนรักษาเอกสารในระยะยาว
ดีสเปซ พัฒนาโดยห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์ และบริษัทฮิวเลตต์-แพคการ์ด มีวัตถุประสงค์ในการเก็บถาวร จึงสามารถรองรับแฟ้มข้อมูลที่มีความหลากหลาย เช่น บทความ ชุดข้อมูล (data sets) รูปภาพ แฟ้มข้อมูลเสียง (audio files) แฟ้มข้อมูลวิดีทัศน์ (video files) แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ (computer files) และทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ ของห้องสมุด ดีสเปซเป็นโปรแกรมตัวแรกในการเก็บถาวรเว็บไซต์ โดยทำหน้าที่เก็บตัวของมันเอง (storage self-contained) เอกสารเอชทีเอ็มแอลที่เป็นประเภทคงที่ และดีสเปซยังเป็นสมาชิกในโครงการริเริ่มเก็บถาวรแบบเปิด (OAI-Open Archives Initiative) อีกด้วย และในปี ค.ศ. 2004 ดีสเปซได้ร่วมมือกับกูเกิล (Google) เพื่อให้ผู้ใช้กูเกิลสามารถสืบค้นข้ามมาที่คลังเก็บเอกสารของดีสเปซได้
ดีสเปซ เป็นโปรแกรมที่เหมาะสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อนมาก คือ การส่ง (submit) ผลงานจากหลายๆ หน่วยงานที่มีความแตกต่างกัน ซึ่งเรียกว่า ชุมชน (community) โดยผู้ส่งผลงาน (submitters) จากหลายหน่วยงานในองค์กร ลงทะเบียนการส่ง ใส่เมทาดาทา ก่อนที่ผลงานจะถูกเก็บในคลังเอกสารจะต้องผ่านการประเมิน โดยผู้ประเมิน (reviewer) สามารถตีคืนผลงานที่พิจารณาเห็นว่าไม่เหมาะสม ผู้รับรอง (approver) เป็นผู้ตรวจสอบกระบวนการส่งผลงาน และมีบรรณธิกรณ์เมทาดาทา (metadata editor) เป็นผู้มีสิทธิในการแก้ไขเมทาดาทา
ดีสเปซทำงานบน ระบบยูนิกซ์ หรือระบบปฏิบัติการประเภทลีนุกซ์ หรือโซรารีส ซึ่งต้องใช้โอเพนซอร์สตัวอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น อาปาเชเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Apache web server) หรือทอมแคท (Tomcat) จาวาคอมไพเลอร์ และโพสต์เกรสคิวแอล (PostgreSQL)
จุดเด่นของดีสเปซอีกประการหนึ่งก็ คือ การรับประกันว่าข้อมูลจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แม้ว่าเวลาจะล่วงเลยไปก็ตาม ดีสเปซเก็บรักษาข้อมูลโดยรูปแบบบิตสตรีมของแฟ้มข้อมูล (bitstream format registry) ถ้ารายการที่ส่งมารายการใดไม่อยู่ในรูปแบบที่กำหนดไว้ ผู้ดูแลระบบต้องตัดสินใจว่ารูปแบบนั้นควรถูกขึ้นทะเบียนเอาไว้หรือไม่ ซึ่งรูปแบบที่กำหนดไว้มี 3 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 คือ supported หมายถึง รูปแบบแฟ้มข้อมูลที่มีการประกาศเป็นมาตรฐาน เช่น ทีฟ (TIFF) เอ็กซ์เอ็มแอล (XML) หรือรูปแบบของแฟ้มข้อมูลที่ผู้คิดค้นได้แจกแจงรายละเอียดรูปแบบของแฟ้ม ข้อมูลให้สาธารณชนรับรู้ เช่น พีดีเอฟ (PDF) ซึ่งจะได้รับการเก็บรักษาในระยะยาว รูปแบบที่ 2 คือ known หมายถึง รูปแบบแฟ้มข้อมูลที่มีการใช้กันในหมู่มาก แต่ผู้คิดค้นไม่ได้ประกาศให้สาธารณชนรับรู้ และรูปแบบที่ 3 คือ unsupported หมายถึง รูปแบบของแฟ้มข้อมูลที่ใช้กันน้อย เช่น แฟ้มข้อมูล CAD/CAM หรือแฟ้มข้อมูลที่เป็นโปรแกรม เป็นต้น
ติดตามศึกษาโปรแกรมเพิ่มเติมได้ที่ http://sourceforge.net/projects/dspace/
Drupal
เป็นเฟรมเวิร์กสำหรับมอจูลในการสร้างเว็บไซต์และระบบจัดการเนื้อหาเว็บในลักษณะโอเพนซอร์ซเขียนขึ้นด้วยภาษาพีเอชพี โดยเริ่มพัฒนาใน พ.ศ. 2543 และกลายมาเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซในปี พ.ศ. 2544 ดรูปัลถูกใช้งานเป็นระบบเบื้องหลังของเว็บไซต์หลายเว็บทั่วโลก ตั้งแต่เว็บไซต์ขนาดเล็ก จนถึงเว็บไซต์หน่วยงานขนาดใหญ่ รวมถึงเว็บไซต์ราชการหลายแห่ง และได้รับรางวัลชนะเลิศซอฟต์แวร์ ระบบจัดการเนื้อหาเว็บยอดเยี่ยมแห่งปี ในปี 2550 และ 2551
ดรูปัลมีการใช้งานในหลายเว็บไซต์ทั่วโลก ทั้งในเว็บไซต์ขนาดเล็กจนถึงเว็บไซต์ขนาดใหญ่ ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์รางวัลพูลิตเซอร์ (เว็บไซต์องค์กร) Popular Science (เว็บไซต์ข่าว) Yahoo! Research (เว็บไซต์หน่วยงาน) Ubuntu.org (เว็บไซต์ชุมชน) MTV United Kingdom และ Sony Music (เว็บไซต์บันเทิง) มหาวิทยาลัยแอมเฮิรตซ์ (เว็บไซต์สถานศึกษา) Recovery.org (เว็บไซต์หน่วยงานราชการ) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (เว็บไซต์องค์กร) FukDuk (เว็บไซต์สถานีโทรทัศน์ออนไลน์ไทย)
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki