เป้าหมายหลัก คือ
- การเปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยาการสารสนเทศ- นำไปศึกษาค้นคว้านอกสถาบันได้
ปรัชญาการบริการยืม - คืน
- ให้ความเท่าเทียมและเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
- กำหนดนโยบายและระเบียบ โดยมีวัตถุประสงค์ให้มีการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศให้มากที่สุด
บทบาทหน้าที่ของบริการยืม - คืน
1. การควบคุมงานบริการยืม - คืน
- เป็นบริการพื้นฐานที่ต้องมีในห้องสมุดสมัยใหม่
2. ประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
- เป็นจุดบริการแรกที่ผู้ใช้จะมองเห็นและเข้ามาติดต่อมากใน
งานห้องสมุด
- บริการที่ดีเป็นสิ่งตัดสินคุณภาพการบริการของห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์
- จุดที่มีการบริการทั้งหมด ถือว่าเป็นการสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ
- ผู้ใช้คาดหวังว่า เจ้าหน้าที่ห้องสมุดทราบทุกๆเรื่อง
สาเหตุที่ผู้ใช้ไม่พอใจ
1. ไม่สามารถหาสิ่งที่ต้องการได้
2. ไม่ได้รับการแจ้งเตือนกำหนดส่ง หรือการส่งช้า
3. ระยะเวลาในการยืมสั้น
4. จำกัดครั้งการยืม
5. ค่าปรับ
6. เสียงรบกวน
7. ไม่พอใจบริการ
8. ร้อนหรือเย็นเกินไป
9. เครื่องสำเนาเอกสาร คอมฯ อุปกรณ์ต่างๆ ไม่ทำงาน
การจัดการ
1. ห้องสมุดขนาดเล็ก บรรณารักษ์ทำหน้าที่ดูแลงาน เจ้าหน้าที่ กำหนดนโยบาย ขั้นตอนการดำเนินงาน และแนะนำดูแลการทำงานของเจ้าหน้าที่
2. ห้องสมุดขนาดใหญ่ มีหัวหน้าแผนก (Department Head)ดูแลบรรณารักษ์ โดยบรรณารักษ์ดูแลงานด้านการศึกษา
3. ห้องสมุดขนาดใหญ่ จะมีหัวหน้างาน (Circulation Chief) ดูแลงานภายใต้การควบคุมของผู้ช่วยบรรณารักษ์ (Asistant Librarian) และหัวหน้าบรรณารักษ์ที่ทำหน้าที่ดูแล (Division Supervisor)
ความรู้และทักษะที่ต้องการ
1. มีใจรักในงานบริการ มีความอดทนสูง
2. มีความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรที่มีไว้บริการ
3. มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล OPAC
4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
การจัดการบุคลากรในการบริการ
- It is Important to have an experience staff member on duty
- Full - time staff usually work one night a week and weekends
- There are busy periods and show periods
คุณสมบัติของบรรณารักษ์
1. ต้องมีความรู้เรื่องเทคโนโลยี
2. รู้จักความต้องการและความสนใจของผู้ใช้
3. มีความสามารถในการติดต่อประสานงานกับทุกภาคส่วนในห้องสมุด
เจ้าหน้าที่ยืม - คืนจำป็นต้อง
1. มีความสุขกับการให้บริการแก่ผู้ใช้
2. ถูกต้อง โปร่งใส
3. ยืดหยุ่น
4. เชื่อถือได้
การยืมและการคืน
- ทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ
- กำหนดระยะเวลาในการยืม - คืน
- บริการจอง
- บริการหนังสือสำรอง
- บริการตรวจสอบหนังสือ
- ปรับสิ่งพิมพ์เกินกำหนดส่ง / เสียหาย กำหนดอัตราการปรับ และการออกใบเสร็จ
- บริการตอบคำถาม ชี้แนะสารนิเทศแก่ผู้ใช้ภายในห้องสมุด และผู้ติดต่อสอบถามทางโทรศัพท์
- บริการยืมระหว่างห้องสมุด (ภายใน)
- บริการล๊อคเกอร์รับฝากสิ่งของ ตรวจกระเป๋า และสิ่งของ
กฏระเบียบการปฏิบัติงาน
ค่าปรับ
- เพื่อกระจายการเข้าถึงให้ผู้อื่น
- การมีความรับผิดชอบ
- มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้มีการส่งคืนตามเวลาที่กำหนด
การกำหนดค่าปรับ
- การกำหนดจำนวนแตกต่างกัน
- ค่าปรับสำหรับการยืมระยะสั้นจะสูงกว่ากำหนดยืมระยะยาว
- ค่าปรับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกัน
- ควรส่งเอกสารแจ้งเตือนวันส่ง
การจัดการปัญหาในการปรับ
- มีการยกเว้น (Amnesty Programs)
- มีการผ่อนผัน (Grace Period)
- หากไม่มีการส่งคืน และไม่จ่ายค่าปรับ สิทธิการใช้ห้องสมุดถูกระงับ
- บางห้องสมุดอาจมีการใช้บริการติดตามจากบริษัทที่มีบริการติดตาม (น้อยมาก)
- ห้องสมุดมหาวิทยาลัยจะทำเรื่องขอระงับการออก Transcripts หรือระงับการอนุมัติสำเร็จการศึกษา
- หลังจาก Grace Period ควรกำหนดค่าปรับเป็นจำนวนที่กำหนดโดยไม่นับตามจำนวนค่าปรับจริง
- การกำหนด Grace Period ให้สอดคล้องกับระยะเวลาการยืม
- หากมีหนี้สินที่ยังไม่ได้ชำระเกินจำนวนเงินที่กำหนดโดยห้องสมุด
- มีการติดประกาศแจ้งขอความร่วมมือ
- มีการแจ้งเตือนเป็นระยะก่อนดำเนินการใด ๆ ในการจำกัดสิทธิ์
การจ่ายค่าปรับ
- จ่ายที่บริการยืม - คืน
- จ่ายผ่านระบบอัตโนมัติ
- เปิดให้มีการผ่อนผันการต่อรองระหว่างผู้ยืมและเจ้าหน้าที่
การรักษาความปลอดภัย
การจัดเก็บทะเบียนผู้ใช้
1. เพื่อจำแนกว่าใครบ้างมีสิทธิ์ยืมทรัพยากรหรือมีสิทธิ์ใช้บริการ
2. ข้อมูลส่วนบุคคล
3. สถาบันสารสนเทศจำเป็นต้องทราบกลุ่มเป้าหมาย และลักษณะกลุ่มเป้าหมายที่จะให้บริการ
ระบบงานยืม - คืนอัตโนมัติ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำเร็จรูปที่นิยมใช้
1. ระบบ URICA
2. ระบบ DYNIX
3. ระบบ TINLIB
4. ระบบ INNOPAC
โปรแกรมรหัสเปิด
- โปรแกรม Koha ห้องสมุดขนาดใหญ่
- OpenBiblio ห้องสมุดขนาดกลาง
- PhpMylibrary ห้องสมุดขนาดเล็ก
- Vufind ห้องสมุดมหาวิทยาลัย
- PhpMyBibli (PMB) เป็นระบบห้องสมุดอัตโนมัติขนาดใหญ่
- Emilda ห้องสมุดโรงเรียน
เทคโนโลยีที่มีการนำมาใช้ในบริการยืม - คืน
เทคโนโลยีรหัสแถบ
เป็นการกำหนดรหัสในรูปแบบแถบสีขาว และสีดำที่มีความแตกต่างด้านความกว้างแทนตัวเลข และตัวอักษร
Barcode Desig
ตัวอย่างการออกแบบบาร์โค๊ด
รหัสบาร์โค๊ดแบบ 2 มิติ (QR Code, 2D Barcode)
เป็นเทคโนโลยีที่อยู่กึ่งกลางระหว่างรหัสบาร์โค๊ด (แบบธรรมดา) และเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี
ลักษณะเด่นของรหัสบาร์โค๊ดแบบ 2 มิติ
- ในส่วนของการผลิตจะไม่มีค่าใช้จ่าย
- สามารถพิมพ์ออกมาเพื่อทำการติดที่ตัวเล่มหนังสือได้ทันที มี 2 ดวงคือ
ดวงที่ 1 เพื่อทำการจัดเก็บเฉพาะข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ
ดวงที่ 2 เพื่อใช้ทำการยืม - คืนหนังสือ
QR Code
- 2D Barcode สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน
- สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า 4,000 ตัวอักษรหรือมากกว่าบาร์โค๊ดปกติ 200 เท่า
- สามารถบรรจุข้อความได้หลากหลายภาษา
- สามารถใช้อุปกรณ์อ่านได้มากอุปกรณ์
RFID - Radio frequency identification
การใช้คลื่นความถี่วิทยุเพื่อการระบุอัตลักษณ์ของวัตถุที่ติดป้ายอาร์เอฟไอดีแทนการระบุด้วยวิธีอื่น
วัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อนำไปใช้งานแทนระบบรหัสแถบเนื่องจากจุดเด่นของอาร์เอฟไอดี อยู่ที่การอ่านข้อมูลจากแท็กได้หลายๆ แท็กแบบไม่ต้องมีการสัมผัส
ข้อดีของ RFID
- สามารถบ่งชี้วัตถุหรืออ่านข้อมูลได้โดยวัตถุนั้นไม่ต้องอยู่ในแนวระดับที่มองเห็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น